โทรทัศน์ครู เรื่อง เมื่อสการ์เลทเรียนเรื่องพืช
เจน เทอร์เนอร์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ( ทางตะวันออกของประเทศอังกฤษ ) ไปเยี่ยมโรงเรียนประถมเซนต์แมรี่ เพื่อทบทวนและอภิปรายเกี่ยวกับโครงการวิทยาศาสตร์ เรียนรู้กับสการ์เลท เจนร่วมพูดคุยถกกันกับเวโลนิกาไนธ์ ที่สอนเรื่องส่วนต่าง ๆ ของพืชที่เรากินได้ มุมมองของพวกเขาเกี่ยวกับผลงานขั้นสุดท้ายและอภิปรายเกี่ยวกับปฏิกิริยาของนักเรียนคนหนึ่งที่มีต่อบทเรียน เธอเรียนรู้อย่างไร และด้วยวิธีใด และมันจะช่วยการสอนในอนาคตได้อย่างไรบ้าง เจนยังให้คำแนะนำสำหรับบทเรียนวิทยาศาสตร์ในอนาคตอีกด้วย
Science Experiences Management for Early Childhood
Portfolio in course Science Experiences Management for Early Childhood Semester 1 Academic year 20013.
วันพฤหัสบดีที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2556
สรุปวิจัย
วิจัย เรื่อง ผลการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียนที่มีต่อทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัย
ของศรีนวล รัตนานันท์
การศึกษาครั้งนี้เป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการสังเกตอันเป็นพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัยให้แก่ครูและผู้เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางของครูในการพัฒนาการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยให้เป็นไปตามจุดประสงค์ของการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
ประชากรที่ใช้ในการศึกษา เด็กปฐมวัยชาย - หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี กำลังศึกษาอยู่ในอนุบาลชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2539 สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี
ประสบการณ์มางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยด้วยทักษะการสังเกต ดังนี้
1. เพื่อพัฒนาทักษะการสังเกต อันเป็นทักษะในแนวการพื้นฐานในการคิดแบบวิทยาศาสตร์
2. เพื่อปลูกฝั่งลักษณะนิสัยเพื่อให้เป็นคนรอบคอบ
3. เพื่อฝึกให้เด็กนำเอาประสาทสัมผัสทั้งห้า คือ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวกาย มาใช้ในการสังเกต
4. เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักเอาข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากการสังเกตมาช่วยในการแก้ปัญหา
5. เพื่อให้เด็กได้รับความรู้กว้างขวางจากการที่ได้สังเกต
สรุปบทความ
บทความ เรื่อง ปะการังฟอกขาว
นอกจากอุณหภูมิแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่ทำลายแนวปะการัง ไม่ว่าจะเป็นการปล่อยน้ำเสียลงในทะเล การรั่วไหลของสารเคมี การรุกล้ำพื้นที่โดยการถมทะเลซึ่งก่อให้เกิดตะกอนไปปกคลุมปะการัง การทำประมงโดยการใช้ระเบิดและใช้อวนลากเข้าไปในแนวปะการัง
นั่นคือสิ่งที่เป็นเหตุผลว่าทำไมเราจึงต้องร่วมมือกันปกป้องรักษาโดยเฉพาะการช่วยกันลดปัจจัยที่จะช่วยส่งเสริมทำให้เกิดภาวะโลกร้อนขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการช่วยกันลดการใช้พลังงานลดการสร้างมลพิษต่างๆ ที่จะไปช่วยเร่งให้เกิดภาวะโลกร้อนยิ่งขึ้นมาเริ่มต้นจากตัวเรามาช่วยกันคนละไม้คนละมือก่อนที่จะสายเกินแก้จนไม่สามารถแก้ไขอะไรได้เลย
นอกจากอุณหภูมิแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่ทำลายแนวปะการัง ไม่ว่าจะเป็นการปล่อยน้ำเสียลงในทะเล การรั่วไหลของสารเคมี การรุกล้ำพื้นที่โดยการถมทะเลซึ่งก่อให้เกิดตะกอนไปปกคลุมปะการัง การทำประมงโดยการใช้ระเบิดและใช้อวนลากเข้าไปในแนวปะการัง
นั่นคือสิ่งที่เป็นเหตุผลว่าทำไมเราจึงต้องร่วมมือกันปกป้องรักษาโดยเฉพาะการช่วยกันลดปัจจัยที่จะช่วยส่งเสริมทำให้เกิดภาวะโลกร้อนขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการช่วยกันลดการใช้พลังงานลดการสร้างมลพิษต่างๆ ที่จะไปช่วยเร่งให้เกิดภาวะโลกร้อนยิ่งขึ้นมาเริ่มต้นจากตัวเรามาช่วยกันคนละไม้คนละมือก่อนที่จะสายเกินแก้จนไม่สามารถแก้ไขอะไรได้เลย
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 18 ( เรียนชดเชย )
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 18
วัน พุธ ที่ 29 กันยายน พ.ศ.2556 (พุธเช้า)
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 17
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 17
วัน พุธ ที่ 25 กันยายน พ.ศ.2556 (พุธเช้า)
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
กิจกรรมการเรียนการสอน
- อาจารย์ให้สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 16
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 16
วัน พุธ ที่ 18 กันยายน พ.ศ.2556 (พุธเช้า)
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
กิจกรรมการเรียนการสอน
- อาจารย์ให้เตรียมวัตถุดิบมาทำไข่ตุ๋น
- อาจารย์ให้เพื่อนมาสอนสาธิตการทำไข่ตุ๋น
หลักการสอนการทำไข่ตุ๋น
1. ครูให้เด็กนั่งเป็นครึ่งวงกลม
2. ครูใช้คำถามกับเด็ก เช่น
- เด็กๆเห็นไหมว่าวันนี้ครูเตรียมอะไรมาบ้าง
- เด็กๆคิดว่าครูจะมาทำกิจกรรมอะไรในวันนี้
- เด็กๆคนไหนเคยทานไข่ตุ๋นบ้างค่ะ
3. ครูแนะนำอุปกรณ์และวัตถุดิบ
4. ครูให้เด็กอาสาออกมาหั่น แครอท
5. ลงมือทำไข่ตุ๋น
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 15
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 15
วัน พุธ ที่ 15 กันยายน พ.ศ.2556 (พุธเช้า)
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
กิจกรรมการเรียนการสอน
- ผู้สอนได้ให้คำแนะนำในการปรับปรุงแก้ไข Blogger
- ทำกิจกรรมกลุ่ม เขียนแผนการสอนวิทยาศาสตร์ในการทำอาหารสำหรับเด็ก
หมายเหตุ ไม่ได้มาเรียน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)