วิจัย เรื่อง ผลการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียนที่มีต่อทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัย
ของศรีนวล รัตนานันท์
การศึกษาครั้งนี้เป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการสังเกตอันเป็นพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัยให้แก่ครูและผู้เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางของครูในการพัฒนาการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยให้เป็นไปตามจุดประสงค์ของการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
ประชากรที่ใช้ในการศึกษา เด็กปฐมวัยชาย - หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี กำลังศึกษาอยู่ในอนุบาลชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2539 สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี
ประสบการณ์มางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยด้วยทักษะการสังเกต ดังนี้
1. เพื่อพัฒนาทักษะการสังเกต อันเป็นทักษะในแนวการพื้นฐานในการคิดแบบวิทยาศาสตร์
2. เพื่อปลูกฝั่งลักษณะนิสัยเพื่อให้เป็นคนรอบคอบ
3. เพื่อฝึกให้เด็กนำเอาประสาทสัมผัสทั้งห้า คือ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวกาย มาใช้ในการสังเกต
4. เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักเอาข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากการสังเกตมาช่วยในการแก้ปัญหา
5. เพื่อให้เด็กได้รับความรู้กว้างขวางจากการที่ได้สังเกต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น