โทรทัศน์ครู เรื่อง เมื่อสการ์เลทเรียนเรื่องพืช
เจน เทอร์เนอร์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ( ทางตะวันออกของประเทศอังกฤษ ) ไปเยี่ยมโรงเรียนประถมเซนต์แมรี่ เพื่อทบทวนและอภิปรายเกี่ยวกับโครงการวิทยาศาสตร์ เรียนรู้กับสการ์เลท เจนร่วมพูดคุยถกกันกับเวโลนิกาไนธ์ ที่สอนเรื่องส่วนต่าง ๆ ของพืชที่เรากินได้ มุมมองของพวกเขาเกี่ยวกับผลงานขั้นสุดท้ายและอภิปรายเกี่ยวกับปฏิกิริยาของนักเรียนคนหนึ่งที่มีต่อบทเรียน เธอเรียนรู้อย่างไร และด้วยวิธีใด และมันจะช่วยการสอนในอนาคตได้อย่างไรบ้าง เจนยังให้คำแนะนำสำหรับบทเรียนวิทยาศาสตร์ในอนาคตอีกด้วย
Portfolio in course Science Experiences Management for Early Childhood Semester 1 Academic year 20013.
วันพฤหัสบดีที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2556
สรุปวิจัย
วิจัย เรื่อง ผลการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียนที่มีต่อทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัย
ของศรีนวล รัตนานันท์
การศึกษาครั้งนี้เป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการสังเกตอันเป็นพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัยให้แก่ครูและผู้เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางของครูในการพัฒนาการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยให้เป็นไปตามจุดประสงค์ของการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
ประชากรที่ใช้ในการศึกษา เด็กปฐมวัยชาย - หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี กำลังศึกษาอยู่ในอนุบาลชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2539 สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี
ประสบการณ์มางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยด้วยทักษะการสังเกต ดังนี้
1. เพื่อพัฒนาทักษะการสังเกต อันเป็นทักษะในแนวการพื้นฐานในการคิดแบบวิทยาศาสตร์
2. เพื่อปลูกฝั่งลักษณะนิสัยเพื่อให้เป็นคนรอบคอบ
3. เพื่อฝึกให้เด็กนำเอาประสาทสัมผัสทั้งห้า คือ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวกาย มาใช้ในการสังเกต
4. เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักเอาข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากการสังเกตมาช่วยในการแก้ปัญหา
5. เพื่อให้เด็กได้รับความรู้กว้างขวางจากการที่ได้สังเกต
สรุปบทความ
บทความ เรื่อง ปะการังฟอกขาว
นอกจากอุณหภูมิแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่ทำลายแนวปะการัง ไม่ว่าจะเป็นการปล่อยน้ำเสียลงในทะเล การรั่วไหลของสารเคมี การรุกล้ำพื้นที่โดยการถมทะเลซึ่งก่อให้เกิดตะกอนไปปกคลุมปะการัง การทำประมงโดยการใช้ระเบิดและใช้อวนลากเข้าไปในแนวปะการัง
นั่นคือสิ่งที่เป็นเหตุผลว่าทำไมเราจึงต้องร่วมมือกันปกป้องรักษาโดยเฉพาะการช่วยกันลดปัจจัยที่จะช่วยส่งเสริมทำให้เกิดภาวะโลกร้อนขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการช่วยกันลดการใช้พลังงานลดการสร้างมลพิษต่างๆ ที่จะไปช่วยเร่งให้เกิดภาวะโลกร้อนยิ่งขึ้นมาเริ่มต้นจากตัวเรามาช่วยกันคนละไม้คนละมือก่อนที่จะสายเกินแก้จนไม่สามารถแก้ไขอะไรได้เลย
นอกจากอุณหภูมิแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่ทำลายแนวปะการัง ไม่ว่าจะเป็นการปล่อยน้ำเสียลงในทะเล การรั่วไหลของสารเคมี การรุกล้ำพื้นที่โดยการถมทะเลซึ่งก่อให้เกิดตะกอนไปปกคลุมปะการัง การทำประมงโดยการใช้ระเบิดและใช้อวนลากเข้าไปในแนวปะการัง
นั่นคือสิ่งที่เป็นเหตุผลว่าทำไมเราจึงต้องร่วมมือกันปกป้องรักษาโดยเฉพาะการช่วยกันลดปัจจัยที่จะช่วยส่งเสริมทำให้เกิดภาวะโลกร้อนขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการช่วยกันลดการใช้พลังงานลดการสร้างมลพิษต่างๆ ที่จะไปช่วยเร่งให้เกิดภาวะโลกร้อนยิ่งขึ้นมาเริ่มต้นจากตัวเรามาช่วยกันคนละไม้คนละมือก่อนที่จะสายเกินแก้จนไม่สามารถแก้ไขอะไรได้เลย
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 18 ( เรียนชดเชย )
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 18
วัน พุธ ที่ 29 กันยายน พ.ศ.2556 (พุธเช้า)
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 17
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 17
วัน พุธ ที่ 25 กันยายน พ.ศ.2556 (พุธเช้า)
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
กิจกรรมการเรียนการสอน
- อาจารย์ให้สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 16
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 16
วัน พุธ ที่ 18 กันยายน พ.ศ.2556 (พุธเช้า)
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
กิจกรรมการเรียนการสอน
- อาจารย์ให้เตรียมวัตถุดิบมาทำไข่ตุ๋น
- อาจารย์ให้เพื่อนมาสอนสาธิตการทำไข่ตุ๋น
หลักการสอนการทำไข่ตุ๋น
1. ครูให้เด็กนั่งเป็นครึ่งวงกลม
2. ครูใช้คำถามกับเด็ก เช่น
- เด็กๆเห็นไหมว่าวันนี้ครูเตรียมอะไรมาบ้าง
- เด็กๆคิดว่าครูจะมาทำกิจกรรมอะไรในวันนี้
- เด็กๆคนไหนเคยทานไข่ตุ๋นบ้างค่ะ
3. ครูแนะนำอุปกรณ์และวัตถุดิบ
4. ครูให้เด็กอาสาออกมาหั่น แครอท
5. ลงมือทำไข่ตุ๋น
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 15
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 15
วัน พุธ ที่ 15 กันยายน พ.ศ.2556 (พุธเช้า)
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
กิจกรรมการเรียนการสอน
- ผู้สอนได้ให้คำแนะนำในการปรับปรุงแก้ไข Blogger
- ทำกิจกรรมกลุ่ม เขียนแผนการสอนวิทยาศาสตร์ในการทำอาหารสำหรับเด็ก
หมายเหตุ ไม่ได้มาเรียน
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 14
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 14
วัน พุธ ที่ 11 กันยายน พ.ศ.2556 (พุธเช้า)
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ผู้สอนติดภาระกิจทางราชการที่ต่างจังหวัด
หมายเหตุ ได้หมอบหมายให้เตรียมรูปและเอกสารที่ไปศึกษาดูงานไว้ให้เรียบร้อย
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ผู้สอนติดภาระกิจทางราชการที่ต่างจังหวัด
หมายเหตุ ได้หมอบหมายให้เตรียมรูปและเอกสารที่ไปศึกษาดูงานไว้ให้เรียบร้อย
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 13
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 13
วัน พุธ ที่ 4 กันยายน พ.ศ.2556 (พุธเช้า)
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ผู้สอนติดภาระกิจทางราชการ
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ผู้สอนติดภาระกิจทางราชการ
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 12
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 12
วัน พุธ ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ.2556 (พุธเช้า)
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ศึกษาดูงาน วันที่ 27-28 สิงหาคม 2556
ณ สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสีธรรมราช และ โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จ. บุรีรัมย์
สรุปความรู้ที่ได้จาก สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสีธรรมราช
ศึกษาดูงาน วันที่ 27-28 สิงหาคม 2556
ณ สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสีธรรมราช และ โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จ. บุรีรัมย์
สรุปความรู้ที่ได้จาก สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสีธรรมราช
วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งโรงเรียนสาธิต ฯ
1. เพื่อเป็นสถานที่ฝึกปฏิบัติงาน
2. เพื่อเป็นแนวทางพัฒนาการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัย
3. เพื่อเป็นสถานที่ศึกษา วิจัย และทดลองทฤษฎีทางการศึกษาอันจะเป็นแนวทางในการพัฒนา
4. เพื่อเป็นโรงเรียนต้นแบบ
5. เพื่อให้การอบรมสำหรับกุลบุตร กุลธิดา
6. เพื่อเป็นสวัสดิการแก่บุตรธิดา
สรุปความรู้ที่ได้จาก โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จ. บุรีรัมย์
สิ่งที่แตกต่างจากโรงเรียนทั่วๆไป
ไม่มีการสอบ
ไม่มีเสียงระฆัง
ไม่มีดาวให้ผู้เรียน
ไม่ต้องใช้แบบเรียน
ไม่มีครูอบรมหน้าเสาธง
ไม่ได้จัดลำดับความสามารถของผู้เรียน
ครูสอนด้วยเสียงเบาที่สุด
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 11
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 11
วัน พุธ ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.2556 (พุธเช้า)
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ผู้สอนได้มอบหมายงานให้ทำดังนี้
1. การทดลองวิทยาศาสตร์
2. ประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์
กิจกรรมทุกชิ้นต้องมีลงใน Blogger
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 10
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 8
วัน พุธ ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ.2556 (พุธเช้า)
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
กิจกรรมการเรียนการสอน
- อาจารย์พูดถึงโครงการศึกษาดูงาน
- อาจารย์ตรวจ Blogger
- อาจารย์ให้ทำการทดลองของแต่ละคนลงใน Blogger
- อาจารย์ให้ทดลองเรื่องใบไม้ว่าทำไมถึงลอยได้
สาเหตุที่ใบไม้ลอยได้
- เกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลกที่มีต่อวัตถุบางเบา
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 9
บันทึกการเข้าเรียน สัปดาห์ที่ 9
วัน พุธ ที่ 7 กรกฏาคม พ.ศ.2556 (พุธเช้า)
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ในวันนี้ไม่มีกิจกรรมการเรียนการสอนแต่อาจารย์ให้ไปร่วมโครงการทำนุบำรุงศอลปะวัฒนธรรมโครงการ กายงาม ใจดี ศรีปฐมวัย
ณ หอประชุม 2 คณะศึกษาศาสตร์
ณ หอประชุม 2 คณะศึกษาศาสตร์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)